ปิดฉากเป็นที่เรียบร้อยสำหรับ “โครงการผู้นำความคิดเพื่อความต ระหนักรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าก๊ าซชีวภาพ” สร้างความรู้-คาวมเข้าใจ ประโยชน์ของพลังงานก๊าซชีวภาพ แก่ นิสิต นักศึกษา ในพื้นที่ 4 จังหวัด 4 ภูมิภาค เป็นการผนึกกำลังครั้งสำคัญระหว่ าง PMG กับ คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน หรือ กกพ. ในการทำโครงการส่งเสริมนักศึกษา 1,000 คน ให้ตระหนักถึงประโยชน์ของพลังงา นไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ


ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ เปิดเผยว่า สำนักงาน กกพ. มีภารกิจหลักที่สำคัญอีกประการห
“ฝากถึง เด็กนักเรียน นักศึกษา เยาวชน คนรุ่นใหม่ ในเรื่องของการใช้พลังงานทดแทนห

“น้อง ๆ นักศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการเ ป็นผู้ที่มีความสามารถ มีความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมได้รับผลตอบรับเป็ นอย่างดีจากกลุ่มเยาวชน นักศึกษา ได้เห็นถึงความตั้งใจที่ได้นำเส นอผลงานอย่างเต็มความสามารถของนั กศึกษา หวังว่าน้องๆ นักศึกษาในฐานะเยาวชนคนรุ่นใหม่ จะได้รับประสบการณ์ที่ดีจากโครง การนี้ และสามารถนำความรู้ แนวความคิด เพื่อบอกต่อสร้างความรู้และความ เข้าใจที่ถูกต้องด้านพลังงานไฟฟ้ าที่จะเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ที่ยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีต่อสั งคมและประเทศชาติต่อไป” นายผดุงศักดิ์ กล่าวในท้ายสุด
อย่างไรก็ดีจากการลงพื้นที่ตลอด โครงการ ได้จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความตระ หนักรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าก๊าซชี วภาพผ่านกิจกรรมอบรมสั มมนามอบองค์ความรู้เกี่ยวกับพลั งงานก๊าซชีวภาพ พร้อมลงพื้นที่ศึกษาดูงาน สถานที่จริง ในโรงงานผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ โดยผู้ผลิตและเจ้าหน้าที่ได้ให้ ความรู้และความเข้าใจถึงกระบวนก ารผลิตกับนักศึกษามากกว่า 1,000 คน ใน 4 ภูมิภาค 4 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยได้รับความร่วมมือจากเครือข่ ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในการลงพื้นที่ให้ความรู้กับนิสิ ต นักศึกษา
“ถือเป็นโครงการที่ดี ที่จะช่วยส่งเสริมให้ เยาวชน คนรุ่นใหม่ ให้ตระหนักถึงคุณค่าของพลังงานส ะอาดโดยเฉพาะ พลังงานก๊าซชีวภาพ ที่คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้และเ ข้าใจดีนัก การถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเด็ กและเยาวชน จึงเป็นเรื่องสำคัญ เนื่องจากโลกในอนาคตจะต้องพัฒนา และเปลี่ยนแปลงไปสู่ทิศทางของกา รใช้พลังงานสะอาด โดยเฉพาะพลังงานก๊าซชีวภาพ ที่จะช่วยลดปัญหาและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงการให้ความสำคัญกับสุขภาพ ซึ่งพลังงานก๊าซชีวภาพสามารถตอบ โจทย์ได้ในทุกมิติ คาดหวังว่า นิสิตและนักศึกษาที่ได้รับการปลู กฝังความคิด และองค์ความรู้ด้านพลังงานก๊าซชี วภาพ จะเติบโตเป็นคนรุ่นใหม่ ที่จะเป็นกำลังสำคัญในขับเคลื่อ นการใช้พลังงานของสังคมไทยไปสู่ การใช้พลังงานสะอาดได้อย่างรวดเ ร็วและยั่งยืน” รศ.ดร.ชัยศรี ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์ คณบดีคณะวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านพลัง งานทดแทน ในฐานะที่ปรึกษาของโครงการ
ทั้งนี้ กิจกรรมการประกวดบทความพร้อม ภาพถ่าย และกิจกรรมประกวดผลิตคลิปสั้น ในหัวข้อ “โรงงานไฟฟ้าก๊าซชีวภาพกับการพั ฒนาขุมชนยั่งยืน” มีผู้สนใจเข้าร่วมประกวดรวมทั้ง 2 กิจกรรมมากกว่า 380 ราย และการสร้าง Content เผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มของโครงการ ภายใต้ชื่อ Biogasthailand ประกอบด้วย Website ที่มีผู้เข้าชมตลอดโครงการมากกว่ า 188,000 UIP Facebook Fan Page มีผู้กดไลก์มากกว่า 53,000 ไลก์ Twitter มีผู้ติดตามมากกว่า 2,700 คน ขณะที่ YouTube มีผู้ชมมากกว่า 760,000 View รวมทุกแพลตฟอร์มมียอด Engagement มากกว่า 830,000 ครั้ง และมียอดการมองเห็นมากกว่าถึง 19,000,000 Reach”
ขณะที่ นางสาวศิริมา ศรีสวัสดิ์นักศึกษามหาวิทยาลัยร าชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่เข้าร่วมโครงการและเป็นชนะกา รประกวดบทความ เปิดเผยถึงความรู้สึกที่ได้เข้า ร่วมโครงการนี้ ว่า “รู้สึกดีมากและอยากขอบคุณโครงก ารดีๆ แบบนี้ ที่ทำให้หนูมีความรู้มากขึ้น ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ ได้ทราบกระบวนการต่างๆ ที่กว่าจะเปลี่ยนของเสียมาเป็นพ ลังงานให้เราใช้ในทุกๆ วัน มีกระบวนการอย่างไร ซึ่งปกติแล้วหนูจะเรียนในเรื่อง สายสุขภาพ จึงไม่ค่อยมีความรู้มากนักในเรื่องนี้ แต่เมื่อหนูได้เข้าร่วมกิจกรรมโ ครงการ ทำให้ได้ความรู้ใหม่ๆ ที่น่าสนใจเพิ่มขึ้น” กล่าว
ขณะที่ นางสาวศิริมา ศรีสวัสดิ์นักศึกษามหาวิทยาลัยร
เมื่อถามถึงมุมมองของคนรุ่นใหม่ ที่มีต่อพลังงานก๊าซชีวภาพ นางสาวเขมนิจ อุมัน นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจน บุรี ผู้ชนะการประกวดผลิตคลิปสั้น กล่าวว่า
“คิดว่าเดี๋ยวนี้คนรุ่นใหม่ใช้แ ต่พลังงานจนลืมตระหนักถึงกระบวน การในการผลิตพลังงานว่ามีมี ระยะเวลาในการผลิตพลังงานนาน ซึ่งตัวหนูตอนนี้มีโอกาสได้เข้า ร่วมโครงการทำให้รู้ว่าก๊าสชีวภ าพมีประโยชน์มากกว่าที่คิด ไม่ควรใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือ งค่ะ”
“คิดว่าเดี๋ยวนี้คนรุ่นใหม่ใช้แ